- หลักสูตร การฝึกอบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น
- หลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับเทคนิค (จป.เทคนิค)
- หลักสูตร เอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี (Safety Data Sheet : SDS)
- หลักสูตร การดับเพลิงขั้นต้น (Basic Fire Fighting Training)
- หลักสูตร การจัดการความสูญเปล่า 7 ประการ (7 Waste Management)
- หลักสูตร ทัศนคติของผู้นำและจิตวิทยาพื้นฐานเพื่อการบริหารทีมอย่างมีประสิทธิภาพ (Leadership Attitude and Basic Psychology for Effective Team Management)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับความร้อนประกายไฟ (Hot Work Safety)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับรังสี สำหรับลูกจ้างที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับรังสี (Radiation Safety)
- หลักสูตร เทคนิคการสื่อสารเพื่อความปลอดภัยอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Safety Communication Techniques)
- หลักสูตร การยศาสตร์เพื่อเพิ่มผลผลิต และอาชีวอนามัยความปลอดภัย (Ergonomics for Productivity Improvement and Safety)
- หลักสูตร กฎหมายความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน
- หลักสูตร การลดต้นทุนการผลิตด้วย QC 7 Tools
- หลักสูตร การสร้างจิตสำนึกคุณภาพ (Quality Awareness)
- หลักสูตร โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม (Occupational Disease)
- หลักสูตร ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการกฎหมายและการดำเนินการเกี่ยวกับน้ำมันเชื้อเพลิง
- หลักสูตร ทบทวนความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
- หลักสูตร วิทยากรอบรม BBS ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการทำงาน (Train the Behavior Based Safety (BBS) Trainer)
- หลักสูตร ไคเซ็นเพื่อการปรับปรุงงานและเพิ่มผลผลิตสู่ความสำเร็จขององค์กร (Kaizen for Success)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง (Work at Heights)
- หลักสูตร ชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)
- หลักสูตร เทคนิคการติดตั้งและตรวจสอบนั่งร้าน (Scaffolding Installation & Inspection Techniques)
- หลักสูตร ระบบล็อคและติดป้ายเพื่อตัดแยกพลังงานอันตราย (Lock out Tag out : LOTO)
- หลักสูตร เทคนิคการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย (JSA: Job Safety Analysis)
- หลักสูตร : ติวสอบ เพื่อสอบเป็นบุคลากรเฉพาะ ตามหลักสูตรความปลอดภัย การเก็บรักษาวัตถุอันตราย ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมกำหนด
- หลักสูตร การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพ (First Aid & CPR)
- หลักสูตร ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน สำหรับลูกจ้างทั่วไปและลูกจ้างเข้าทำงานใหม่ ตาม พรบ.ความปลอดภัยฯ พ.ศ. 2554
- หลักสูตร ความปลอดภัยเกี่ยวกับงานเชื่อมและงานตัด (Safe Welding And Cutting)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการขับขี่รถยก (Forklift Safe Driving Training)
- หลักสูตร เครน ปั้นจั่น (การปฏิบัติหน้าที่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ และผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น)
- หลักสูตร การประเมินและบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 และ ISO 14001: 2015 (ISO 9001:2015 and ISO 14001:2015 RISK ASSESSMENT AND MANAGEMENT TRAINING)
- หลักสูตร กิจกรรม 5ส. เพื่อความปลอดภัยและเพิ่มผลผลิตอย่างยั่งยืน (5S for Safety & Productivity to Sustainable Course)
- หลักสูตร กิจกรรม 5ส. เพื่อการเพิ่มผลผลิต (5S for Productivity Improvement)
- หลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร (จป.บริหาร)
- หลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน (จป.หัวหน้างาน)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ (Confined Space)
- หลักสูตร คปอ. (คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบกิจการ)
- หลักสูตร การขับรถป้องกันอุบัติเหตุสำหรับหัวหน้างานและผู้จัดการ (Defensive Driving for Manager and Supervisor)
- หลักสูตร การขับรถเชิงป้องกันอุบัติเหตุสำหรับพนักงานขับรถบรรทุก (Defensive Driving for Truck Driver)
- หลักสูตร การประเมินการขับรถและแก้ไขข้อบกพร่อง (In Cab Assessment and Coaching)
- หลักสูตร การขออนุญาติมีไว้ในครอบครองเกี่ยวกับสารเคมีและวัตถุอันตราย ตามพรบ. วัตถุอันตราย 2535
- หลักสูตร การตอบโต้เหตุสารเคมีรั่วไหล (Chemicals and Dangerous GoodS Spill Respond)
- หลักสูตร เทคนิคการบริหารจัดการสารเคมีอันตราย (Chemical Hazard Management Techniques)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการใช้สารเคมีและวัตถุอันตราย (Safety with Chemicals and Dangerous Goods)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการผูกรัดและบรรทุก (Safe Loading and Lashing)
- หลักสูตร อุบัติเหตุเป็นศูนย์ด้วย KYT (Zero Accident with KYT)
- หลักสูตร การสั่งหยุดงานเพื่อความปลอดภัยในองค์กร หรือ STOP for SAFETY
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าสำหรับลูกจ้างซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
- หลักสูตร ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย (BEHAVIOR BASED SAFETY: BBS)
- หลักสูตร อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment: PPE)
- หลักสูตร โครงการอนุรักษ์การได้ยิน (Hearing Conservation Program)
- ประวัติวิทยากร
ชื่อหลักสูตร:
หลักสูตรความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ (Confined Space)
หลักการและเหตุผล:
"ที่อับอากาศ (Confined Space) หมายความว่า ที่ซึ่งมีทางเข้าออกจำกัดหรือไม่ได้ออกแบบไว้สำหรับเป็นสถานที่ทำงานอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ และ มีสภาพอันตราย หรือ มีบรรยากาศอันตราย เช่น อุโมงค์ ถ้ำ บ่อ หลุม ห้องใต้ดิน ห้องนิรภัย ถังน้ำมัน ถังหมัก ถัง ไซโล ท่อ เตา ภาชนะ หรือสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายกัน"
เพื่อให้สอดคล้องตาม กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับที่อับอากาศ พ.ศ. 2562 ให้นายจ้างได้จัดฝึกอบรมฯ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของตนเองตามหน้าที่ ได้แก่ ผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และผู้ปฏิบัติงาน และสาสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้อบรมไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างเหมาะสมกับองค์กรของตนเอง รวมทั้งให้สอดคล้องตามพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554
วัตถุประสงค์:
- เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของตนเองตามหน้าที่ ได้แก่ ผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และผู้ปฏิบัติงาน
- เพื่อให้สามารถนำองค์ความรู้ที่ได้อบรมไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างเหมาะสมกับองค์กรของตนเอง
- เพื่อให้สอดคล้องตามพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554 มาตรา 16
- เพื่อให้สอดคล้องตาม กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับที่อับอากาศ พ.ศ. 2562 หมวด 4 การฝึกอบรม ข้อที่ 20
- เพื่อให้สอดคล้องตาม ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และหลักสูตรการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ พ.ศ. 2564 หมวด 1 หลักเกณฑ์ วิธีการฝึกอบรม ข้อ 2
แบ่งเป็น 4 ผู้ ประกอบด้วย ผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และผู้ปฏิบัติงาน
1. ผู้อนุญาต (ระยะเวลาอบรม 1 วัน 7 ชม.)
กลุ่มเป้าหมาย
นายจ้างผู้มีหน้าที่เป็น ผู้รับผิดชอบในการอนุญาตให้ลูกจ้างปฏิบัติงานในที่อับอากาศ และพนักงานที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้รับผิดชอบในการอนุญาตให้ลูกจ้างปฏิบัติงานในที่อับอากาศ
ภาคทฤษฎี
1. กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
2. ความหมาย ชนิด ประเภทและอันตรายในที่อับอากาศ
3. การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การประเมินสภาพพื้นที่และงาน และการเตรียมความพร้อมในการทำงานในที่อับอากาศ
4. วิธีปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศที่ถูกต้องและปลอดภัย
5. การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ และอุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิต
6. ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการขอยกเลิกการอนุญาต และหลักการตัดแยกพลังงานเพื่อความปลอดภัย
7. บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือและผู้ปฏิบัติงาน และการสื่อสารในที่อับอากาศ
ภาคปฏิบัติ
1. เทคนิคการตรวจสอบสภาพพื้นที่และงาน ก่อนตัดสินใจอนุญาต
2. เทคนิคในการควบคุมการทำงาน ในที่อับอากาศ
2. ผู้ควบคุมงาน (ระยะเวลาอบรม 2 วัน 12 ชม.)
กลุ่มเป้าหมาย
พนักงานที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้รับผิดชอบในการควบคุมการทำงานในที่อับอากาศ
ภาคทฤษฎี
- กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
- ความหมาย ชนิด ประเภทและอันตรายในที่อับอากาศ
- การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การประเมินสภาพพื้นที่และงาน และการเตรียมความพร้อมในการทำงานในที่อับอากาศ
- ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการขอยกเลิกการอนุญาต และหลักการตัดแยกพลังงานเพื่อความปลอดภัย
- บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือและผู้ปฏิบัติงาน และการสื่อสารในที่อับอากาศ
- เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ และการใช้และตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ
- เทคนิคการระบายอากาศ
- การสั่งให้หยุดทำงานชั่วคราว
- การวางแผนการปฏิบัติงานและการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงานในที่อับอากาศ
- เทคนิคในการจัดทำแผนปฏิบัติงานและการป้องกันอันตราย
- การควบคุมดูแล การใช้เครื่องป้องกัน PPE และอุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิต
- เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ และการใช้และตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ
- เทคนิคการระบายอากาศและเครื่องมือ
- เทคนิคการควบคุมการทำงาน ในที่อับอากาศ
- การใช้งานอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ
- การใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือและการช่วยชีวิต
- ฝึกปฏิบัติงานจริง สถานการณ์การปฏิบัติงานในที่อับอากาศ
กลุ่มเป้าหมาย
พนักงานที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้รับผิดชอบในการช่วยเหลือผู้ที่ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ
ภาคทฤษฎี
- กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
- ความหมาย ชนิด ประเภทและอันตรายในที่อับอากาศ
- การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การประเมินสภาพพื้นที่และงาน และการเตรียมความพร้อมในการทำงานในที่อับอากาศ
- ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการขอยกเลิกการอนุญาต และหลักการตัดแยกพลังงานเพื่อความปลอดภัย
- บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือและผู้ปฏิบัติงาน และการสื่อสารในที่อับอากาศ
- เทคนิคการระบายอากาศ
- วิธีปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศที่ถูกต้องและปลอดภัย
- การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ และอุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิต
- เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ และการใช้และตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ
- อันตรายที่อาจได้รับในกรณีฉุกเฉินและวิธีหลีกหนีภัย
- การช่วยเหลือและการช่วยชีวิต
- การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้น และ CPR
- การใช้งานอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ
- การใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือและการช่วยชีวิต
- เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ และการใช้และตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ
- เทคนิคการระบายอากาศและเครื่องมือ
- การช่วยเหลือและการช่วยชีวิต
- การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้น และ CPR
- ฝึกปฏิบัติงานจริง สถานการณ์การปฏิบัติงานในที่อับอากาศ
4. ผู้ปฏิบัติงาน (ระยะเวลาอบรม 2 วัน 12 ชม.)
กลุ่มเป้าหมาย
พนักงานที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้รับผิดชอบในการช่วยเหลือผู้ที่ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ
ภาคทฤษฎี
- กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
- ความหมาย ชนิด ประเภทและอันตรายในที่อับอากาศ
- การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การประเมินสภาพพื้นที่และงาน และการเตรียมความพร้อมในการทำงานในที่อับอากาศ
- ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการขอยกเลิกการอนุญาต และหลักการตัดแยกพลังงานเพื่อความปลอดภัย
- บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือและผู้ปฏิบัติงาน และการสื่อสารในที่อับอากาศ
- เทคนิคการระบายอากาศ
- วิธีปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศที่ถูกต้องและปลอดภัย
- การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ และอุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิต
- เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ และการใช้และตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ
- อันตรายที่อาจได้รับในกรณีฉุกเฉินและวิธีหลีกหนีภัย
- การใช้งานอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ
- เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ และการใช้และตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ
- เทคนิคการระบายอากาศและเครื่องมือ
- ฝึกปฏิบัติงานจริง สถานการณ์การปฏิบัติงานในที่อับอากาศ
กลุ่มเป้าหมาย
- นายจ้างที่ทำหน้าที่ในการมอบหมายหรือควบคุมการปฏิบัติงานในที่อับอากาศ
- บุคลากรในองค์กรที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานในที่อับอากาศตามที่ นายจ้างมอบหมายให้ทำหน้าที่เป็นผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และผู้ปฏิบัติงาน
ภาคทฤษฎี
- กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
- ความหมาย ชนิด ประเภทและอันตรายในที่อับอากาศ
- การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การประเมินสภาพพื้นที่และงาน และการเตรียมความพร้อมในการทำงานในที่อับอากาศ
- ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการขอยกเลิกการอนุญาต และหลักการตัดแยกพลังงานเพื่อความปลอดภัย
- บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือและผู้ปฏิบัติงาน และการสื่อสารในที่อับอากาศ
- เทคนิคการระบายอากาศ
- การสั่งให้หยุดทำงานชั่วคราว
- การวางแผนการปฏิบัติงานและการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงานในที่อับอากาศ
- เทคนิคในการจัดทำแผนปฏิบัติงานและการป้องกันอันตราย
- การควบคุมดูแล การใช้เครื่องป้องกัน PPE และอุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิต
- วิธีปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศที่ถูกต้องและปลอดภัย
- การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ และอุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิต
- เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ และการใช้และตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ
- อันตรายที่อาจได้รับในกรณีฉุกเฉินและวิธีหลีกหนีภัย
- การช่วยเหลือและการช่วยชีวิต
- การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้น และ CPR
- เทคนิคการตรวจสอบสภาพพื้นที่และงาน ก่อนตัดสินใจอนุญาต
- การใช้งานอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ
- การใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือและการช่วยชีวิต
- เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ และการใช้และตรวจสอบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดสภาพอากาศในที่อับอากาศ
- เทคนิคการระบายอากาศและเครื่องมือ
- การช่วยเหลือและการช่วยชีวิต
- การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้น และ CPR
- การอนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการสื่อสาร
- เทคนิคในการควบคุมการทำงาน ในที่อับอากาศ
- ฝึกปฏิบัติงานจริง สถานการณ์การปฏิบัติงานในที่อับอากาศ
กลุ่มเป้าหมาย
- ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมตามข้อ 1-5 แล้ว อย่างใดอย่างหนึ่งตามหลักสูตรตั้งต้น
- กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
- ความหมาย ชนิด ประเภทและอันตรายในที่อับอากาศ
- การชี้บ่งอันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การประเมินสภาพพื้นที่และงาน และการเตรียมความพร้อมในการทำงานในที่อับอากาศ
- ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการขอยกเลิกการอนุญาต และหลักการตัดแยกพลังงานเพื่อความปลอดภัย
- บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือและผู้ปฏิบัติงาน และการสื่อสารในที่อับอากาศ
- วิธีปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศที่ถูกต้องและปลอดภัย
- การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ และอุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิต
วิธีการอบรม:
- การบรรยายภาคทฤษฏี
- กรณีศึกษาจากวีดีทัศน์
- Workshop/ ฝึกภาคปฏิบัติ
- การสอบประเมินความรู้ความเข้าใจก่อน-หลัง
รายละเอียดตามหน้าที่ (ข้างต้น)
**หลังจบการอบรมจะได้รับวุฒิบัตร ทันที**
ผู้เข้าอบรม:
พนักงานผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องและปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานที่อับอากาศทุกคน ได้แก่ ผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และผู้ปฏิบัติงาน
สิ่งที่ผู้เข้าอบรมต้องเตรียม:
1. เสื้อยืดคอกลมแขนยาว
2. กางเกงขายาวที่สามารถฝึกภาคปฎิบัติ เช่น กางเกงวอร์มขายาว
3. รองเท้าผ้าใบ
4. ของใช้ส่วนตัว เช่น ผ้าเช็ดตัว สบู่ ยาสระผม แปรงสีฟัน ฯลฯ
สถานพยาบาลที่แนะนำในการตรวจสุขภาพก่อนการอบรมโดยแพทย์อาชีวเวชศาสตร์:
1. โรงพยาบาลสมุทรปราการ
2. โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 3
3. โรงพยาบาลนพรัตน์ราชธานี
4. โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ (ทุกสาขา)
โรคประจำตัวต้องห้าม
1. โรคระบบทางเดินหายใจ
2. โรคหัวใจ
3. โรคอื่นๆ ตามที่แพทย์ระบุ
วิทยากร: อาจารย์ที่มีคุณสมบัติตามประกาศกระทรวงกำหนดฯ
E-mail wongyai.safety@gmail.com
โทรศัพท์ 082-387-8999, 095-549-0298
Page https://www.facebook.com/wongyaitraining/
Blog https://safetynantanaporn.wordpress.com/
Web http://www.wongyaitraining.com/
WongyaiTraining ศูนย์ฝึกอบรมด้านความปลอดภัยในการทำงาน by บริษัท ดับเบิ้ลยู ที ซี จำกัด
สำนักงานใหญ่: 222/240 ชั้น 1 หมู่บ้านพรีซีโอ 4 หมู่ 4 ตำบลนาป่า อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000
ศูนย์ฯ ภาคใต้: ตำบลปากน้ำ อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ 81000
ศูนย์ฯ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี 34130
MOBILE: 082 387 8999 , 095 549 0298
LINE ID: wongyaitraining