ข่าวจากเว็บไซต์
หัวข้อ
- หลักสูตร การฝึกอบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น
- หลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับเทคนิค (จป.เทคนิค)
- หลักสูตร เอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี (Safety Data Sheet : SDS)
- หลักสูตร การดับเพลิงขั้นต้น (Basic Fire Fighting Training)
- หลักสูตร การจัดการความสูญเปล่า 7 ประการ (7 Waste Management)
- หลักสูตร ทัศนคติของผู้นำและจิตวิทยาพื้นฐานเพื่อการบริหารทีมอย่างมีประสิทธิภาพ (Leadership Attitude and Basic Psychology for Effective Team Management)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับความร้อนประกายไฟ (Hot Work Safety)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับรังสี สำหรับลูกจ้างที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับรังสี (Radiation Safety)
- หลักสูตร เทคนิคการสื่อสารเพื่อความปลอดภัยอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Safety Communication Techniques)
- หลักสูตร การยศาสตร์เพื่อเพิ่มผลผลิต และอาชีวอนามัยความปลอดภัย (Ergonomics for Productivity Improvement and Safety)
- หลักสูตร กฎหมายความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน
- หลักสูตร การลดต้นทุนการผลิตด้วย QC 7 Tools
- หลักสูตร การสร้างจิตสำนึกคุณภาพ (Quality Awareness)
- หลักสูตร โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม (Occupational Disease)
- หลักสูตร ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการกฎหมายและการดำเนินการเกี่ยวกับน้ำมันเชื้อเพลิง
- หลักสูตร ทบทวนความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
- หลักสูตร วิทยากรอบรม BBS ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการทำงาน (Train the Behavior Based Safety (BBS) Trainer)
- หลักสูตร ไคเซ็นเพื่อการปรับปรุงงานและเพิ่มผลผลิตสู่ความสำเร็จขององค์กร (Kaizen for Success)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง (Work at Heights)
- หลักสูตร ชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)
- หลักสูตร เทคนิคการติดตั้งและตรวจสอบนั่งร้าน (Scaffolding Installation & Inspection Techniques)
- หลักสูตร ระบบล็อคและติดป้ายเพื่อตัดแยกพลังงานอันตราย (Lock out Tag out : LOTO)
- หลักสูตร เทคนิคการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย (JSA: Job Safety Analysis)
- หลักสูตร : ติวสอบ เพื่อสอบเป็นบุคลากรเฉพาะ ตามหลักสูตรความปลอดภัย การเก็บรักษาวัตถุอันตราย ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมกำหนด
- หลักสูตร การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพ (First Aid & CPR)
- หลักสูตร ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน สำหรับลูกจ้างทั่วไปและลูกจ้างเข้าทำงานใหม่ ตาม พรบ.ความปลอดภัยฯ พ.ศ. 2554
- หลักสูตร ความปลอดภัยเกี่ยวกับงานเชื่อมและงานตัด (Safe Welding And Cutting)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการขับขี่รถยก (Forklift Safe Driving Training)
- หลักสูตร เครน ปั้นจั่น (การปฏิบัติหน้าที่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ และผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น)
- หลักสูตร การประเมินและบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 และ ISO 14001: 2015 (ISO 9001:2015 and ISO 14001:2015 RISK ASSESSMENT AND MANAGEMENT TRAINING)
- หลักสูตร กิจกรรม 5ส. เพื่อความปลอดภัยและเพิ่มผลผลิตอย่างยั่งยืน (5S for Safety & Productivity to Sustainable Course)
- หลักสูตร กิจกรรม 5ส. เพื่อการเพิ่มผลผลิต (5S for Productivity Improvement)
- หลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร (จป.บริหาร)
- หลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน (จป.หัวหน้างาน)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ (Confined Space)
- หลักสูตร คปอ. (คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบกิจการ)
- หลักสูตร การขับรถป้องกันอุบัติเหตุสำหรับหัวหน้างานและผู้จัดการ (Defensive Driving for Manager and Supervisor)
- หลักสูตร การขับรถเชิงป้องกันอุบัติเหตุสำหรับพนักงานขับรถบรรทุก (Defensive Driving for Truck Driver)
- หลักสูตร การประเมินการขับรถและแก้ไขข้อบกพร่อง (In Cab Assessment and Coaching)
- หลักสูตร การขออนุญาติมีไว้ในครอบครองเกี่ยวกับสารเคมีและวัตถุอันตราย ตามพรบ. วัตถุอันตราย 2535
- หลักสูตร การตอบโต้เหตุสารเคมีรั่วไหล (Chemicals and Dangerous GoodS Spill Respond)
- หลักสูตร เทคนิคการบริหารจัดการสารเคมีอันตราย (Chemical Hazard Management Techniques)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการใช้สารเคมีและวัตถุอันตราย (Safety with Chemicals and Dangerous Goods)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการผูกรัดและบรรทุก (Safe Loading and Lashing)
- หลักสูตร อุบัติเหตุเป็นศูนย์ด้วย KYT (Zero Accident with KYT)
- หลักสูตร การสั่งหยุดงานเพื่อความปลอดภัยในองค์กร หรือ STOP for SAFETY
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าสำหรับลูกจ้างซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
- หลักสูตร ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย (BEHAVIOR BASED SAFETY: BBS)
- หลักสูตร อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment: PPE)
- หลักสูตร โครงการอนุรักษ์การได้ยิน (Hearing Conservation Program)
- ประวัติวิทยากร
Facebook
ขณะนี้เวลา
ขอขอบคุณลูกค้าผู้มีอุปการคุณ
โทรติดต่องาน
==============================
TEL&LINE ID : 0823878999 คุณปุ๋ย
TEL&LINE ID : 0955490298 คุณบอล
==============================
หลักสูตร โครงการอนุรักษ์การได้ยิน (Hearing Conservation Program)
ชื่อหลักสูตร:
โครงการอนุรักษ์การได้ยิน (Hearing Conservation Program)
วัตถุประสงค์:
- เพื่อให้พนักงานทราบหลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำโครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบกิจการ
- เพื่อป้องกันและควบคุมไม่ให้พนักงานเกิดการสูญเสียการได้ยินจากการปฏิบัติงาน
- เพื่อให้พนักงานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการสูญเสียการได้ยิน
- เพื่อให้พนักงานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบจากการสูญเสียการได้ยินที่นำไปสู่การปฏิบัติตนให้มั่นใจว่าปลอดภัยจากเสียงดังอยู่เสมอ
- เพื่อให้พนักงานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันอันตรายจากเสียงดังในสถานประกอบการและนำไปสู่การปกป้องตนเองจากเสียงดังได้ตลอดเวลาทำงาน
- เพื่อให้พนักงานสามารถเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสมและใช้อย่างถูกต้อง
หลักการและเหตุผล:
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2559 กำหนดให้นายจ้างจัดทำมาตรการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบกิจการในกรณีที่สภาวะการทำงาน ในสถานประกอบกิจการมีระดับเสียงที่ลูกจ้างได้รับเฉลี่ยตลอดระยะเวลาการทำงาน 8 ชั่วโมง ตั้งแต่ 85 dB(A) ขึ้นไป ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีประกาศกำหนด
(1) นโยบายการอนุรักษ์การได้ยิน
(2) การเฝ้าระวังเสียงดัง (Noise Monitoring)
(3) การเฝ้าระวังการได้ยิน (Hearing Monitoring)
(4) หน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ที่เกี่ยวข้อง
ข้อ 3 ให้นายจ้างจัดให้มีการเฝ้าระวังเสียงดัง โดยการสำรวจและตรวจวัดระดับเสียง การศึกษาระยะเวลาสัมผัสเสียงดัง และการประเมินการสัมผัสเสียงดังของลูกจ้างในสถานประกอบกิจการแล้วแจ้งผลให้ลูกจ้างทราบ
ข้อ 4 ให้นายจ้างจัดให้มีการเฝ้าระวังการได้ยินโดยให้ดำเนินการ ดังนี้
- ทดสอบสมรรถภาพการได้ยิน (Audiometric sting) แก่ลูกจ้างที่สัมผัสเสียงดังที่ได้รับเฉลี่ยตลอดระยะเวลาการทำงานแปดชั่วโมงตั้งแต่ 85 dB(A) ขึ้นไป และให้ทดสอบสมรรถภาพ การได้ยินของลูกจ้างครั้งต่อไปอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
- แจ้งผลการทดสอบสมรรถภาพการได้ยินให้ลูกจ้างทราบภายใน 7 วันนับแต่วันที่นายจ้าง ทราบผลการทดสอบ
- ทดสอบสมรรถภาพการได้ยินของลูกจ้างซ้ำอีกครั้งภายใน 30 วัน นับแต่วันที่นายจ้าง ทราบผลการทดสอบ กรณีพบว่าลูกจ้างมีสมรรถภาพการได้ยินเป็นไปตามข้อ 6
ข้อ 7 ให้นายจ้างจัดทำและติดแผนผังแสดงระดับเสียง (Noise Contour Map) ในแต่ละพื้นที่ เกี่ยวกับผลการตรวจวัดระดับเสียง ติดป้ายบอกระดับเสียงและเตือนให้ระวังอันตรายจากเสียงดัง
ข้อ 8 ให้นายจ้างอบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรการอนุรักษ์การได้ยินความสำคัญ ของการทดสอบสมรรถภาพการได้ยิน อันตรายของเสียงดัง การควบคุม ป้องกัน และการใช้อุปกรณ์ คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลแก่ลูกจ้างที่ทำงานในบริเวณที่มีระดับเสียงดังที่ได้รับเฉลี่ยตลอดระยะเวลา การทำงาน 8 ชั่วโมงตั้งแต่ 85 dB(A) ขึ้นไป
ข้อ 9 ให้นายจ้างประเมินผลและทบทวนการจัดการมาตรการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบกิจการไม่น้อยกว่าปีละ 1 ครั้ง
ข้อ 10 ให้นายจ้างบันทึกข้อมูลและจัดทำเอกสารการดำเนินการตามข้อ 3 ถึงข้อ 10 เก็บไว้ในสถานประกอบกิจการไม่น้อยกว่า 5 ปี พร้อมที่จะให้พนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบได้
ดังนั้นบริษัทฯ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะอบรมให้ความรู้แก่พนักงานในสถานประกอบการได้ทราบถึง ตลอดจนแนวทางในการป้องกันอันตรายจากเสียงดัง (Noise) และการจัดทำโครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบการให้สอดคล้องตามกฎหมายกำหนดอย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความปลอดภัยให้กับพนักงานของเรา
เนื้อหา/กำหนดการ:
- ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทำมาตรการอนุรักษ์การได้ยิน
- ทบทวนข้อกำหนดกฎหมายที่เกี่ยวข้องเบื้องต้น
- นโยบายมาตรการอนุรักษ์การได้ยิน / หน้าที่รับผิดชอบของผู้ที่เกี่ยวข้อง
- ความอันตรายของเสียงดัง
- ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการสูญเสียการได้ยิน
- การสำรวจระดับเสียงในพื้นที่ทำงานและการเฝ้าระวังเสียงดัง (Noise Monitoring)
- การเฝ้าระวังการได้ยิน (Hearing Monitoring)
- การตรวจประเมินสมรรถภาพการได้ยิน
- การใช้งานอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลในการป้องกัน
- มาตรการอนุรักษ์การได้ยิน
- แนวทางควบคุมและป้องกันอันตรายจากเสียงดัง (Noise)
วิธีการอบรม/การประเมินผล:
- การบรรยายภาคทฤษฏี
- กรณีศึกษาจากวีดีทัศน์
- Workshop/ กิจกรรมกลุ่ม/ Focus Group Interview
- การสอบประเมินความรู้ความเข้าใจก่อน-หลัง
ระยะเวลาอบรม:
- 6 ชั่วโมง
- **หลังจบการอบรมจะได้รับวุฒิบัตร ทันที** โดยผู้จัดต้องส่งรายชื่อผู้เข้าอบรมล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วันก่อนอบรม
ผู้เข้าอบรม: รุ่นละ ไม่เกิน 30 ท่าน
- พนักงานที่ปฏิบัติงานในพื้นที่เสียงดังตามกฎหมายกำหนด
- ผู้เกี่ยวข้องในการจัดทำมาตรการอนุรักษ์การได้ยิน
- หัวหน้างาน/ ผู้จัดการของพื้นที่ปฏิบัติงาน
- ผู้ที่สนใจ
วิทยากร:
อาจารย์นันทนาพร วงศ์ใหญ่
วิทยากรความปลอดภัยและผู้เชี่ยวชาญการสร้างพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงาน
E-mail wongyai.safety@gmail.com
TEL 082-387-8999, 095-549-0298
Web www.wongyaitraining.com
Page https://www.facebook.com/wongyaitraining/
Blog https://safetynantanaporn.wordpress.com/
WongyaiTraining ศูนย์ฝึกอบรมด้านความปลอดภัยในการทำงาน by บริษัท ดับเบิ้ลยู ที ซี จำกัด
สำนักงานใหญ่: 222/240 ชั้น 1 หมู่บ้านพรีซีโอ 4 หมู่ 4 ตำบลนาป่า อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000
ศูนย์ฯ ภาคใต้: ตำบลปากน้ำ อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ 81000
ศูนย์ฯ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี 34130
MOBILE: 082 387 8999 , 095 549 0298
LINE ID: wongyaitraining
web