- หลักสูตร การฝึกอบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น
- หลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับเทคนิค (จป.เทคนิค)
- หลักสูตร เอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี (Safety Data Sheet : SDS)
- หลักสูตร การดับเพลิงขั้นต้น (Basic Fire Fighting Training)
- หลักสูตร การจัดการความสูญเปล่า 7 ประการ (7 Waste Management)
- หลักสูตร ทัศนคติของผู้นำและจิตวิทยาพื้นฐานเพื่อการบริหารทีมอย่างมีประสิทธิภาพ (Leadership Attitude and Basic Psychology for Effective Team Management)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับความร้อนประกายไฟ (Hot Work Safety)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับรังสี สำหรับลูกจ้างที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับรังสี (Radiation Safety)
- หลักสูตร เทคนิคการสื่อสารเพื่อความปลอดภัยอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Safety Communication Techniques)
- หลักสูตร การยศาสตร์เพื่อเพิ่มผลผลิต และอาชีวอนามัยความปลอดภัย (Ergonomics for Productivity Improvement and Safety)
- หลักสูตร กฎหมายความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน
- หลักสูตร การลดต้นทุนการผลิตด้วย QC 7 Tools
- หลักสูตร การสร้างจิตสำนึกคุณภาพ (Quality Awareness)
- หลักสูตร โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม (Occupational Disease)
- หลักสูตร ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการกฎหมายและการดำเนินการเกี่ยวกับน้ำมันเชื้อเพลิง
- หลักสูตร ทบทวนความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
- หลักสูตร วิทยากรอบรม BBS ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการทำงาน (Train the Behavior Based Safety (BBS) Trainer)
- หลักสูตร ไคเซ็นเพื่อการปรับปรุงงานและเพิ่มผลผลิตสู่ความสำเร็จขององค์กร (Kaizen for Success)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง (Work at Heights)
- หลักสูตร ชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)
- หลักสูตร เทคนิคการติดตั้งและตรวจสอบนั่งร้าน (Scaffolding Installation & Inspection Techniques)
- หลักสูตร ระบบล็อคและติดป้ายเพื่อตัดแยกพลังงานอันตราย (Lock out Tag out : LOTO)
- หลักสูตร เทคนิคการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย (JSA: Job Safety Analysis)
- หลักสูตร : ติวสอบ เพื่อสอบเป็นบุคลากรเฉพาะ ตามหลักสูตรความปลอดภัย การเก็บรักษาวัตถุอันตราย ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมกำหนด
- หลักสูตร การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพ (First Aid & CPR)
- หลักสูตร ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน สำหรับลูกจ้างทั่วไปและลูกจ้างเข้าทำงานใหม่ ตาม พรบ.ความปลอดภัยฯ พ.ศ. 2554
- หลักสูตร ความปลอดภัยเกี่ยวกับงานเชื่อมและงานตัด (Safe Welding And Cutting)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการขับขี่รถยก (Forklift Safe Driving Training)
- หลักสูตร เครน ปั้นจั่น (การปฏิบัติหน้าที่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ และผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น)
- หลักสูตร การประเมินและบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 และ ISO 14001: 2015 (ISO 9001:2015 and ISO 14001:2015 RISK ASSESSMENT AND MANAGEMENT TRAINING)
- หลักสูตร กิจกรรม 5ส. เพื่อความปลอดภัยและเพิ่มผลผลิตอย่างยั่งยืน (5S for Safety & Productivity to Sustainable Course)
- หลักสูตร กิจกรรม 5ส. เพื่อการเพิ่มผลผลิต (5S for Productivity Improvement)
- หลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร (จป.บริหาร)
- หลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน (จป.หัวหน้างาน)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ (Confined Space)
- หลักสูตร คปอ. (คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบกิจการ)
- หลักสูตร การขับรถป้องกันอุบัติเหตุสำหรับหัวหน้างานและผู้จัดการ (Defensive Driving for Manager and Supervisor)
- หลักสูตร การขับรถเชิงป้องกันอุบัติเหตุสำหรับพนักงานขับรถบรรทุก (Defensive Driving for Truck Driver)
- หลักสูตร การประเมินการขับรถและแก้ไขข้อบกพร่อง (In Cab Assessment and Coaching)
- หลักสูตร การขออนุญาติมีไว้ในครอบครองเกี่ยวกับสารเคมีและวัตถุอันตราย ตามพรบ. วัตถุอันตราย 2535
- หลักสูตร การตอบโต้เหตุสารเคมีรั่วไหล (Chemicals and Dangerous GoodS Spill Respond)
- หลักสูตร เทคนิคการบริหารจัดการสารเคมีอันตราย (Chemical Hazard Management Techniques)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการใช้สารเคมีและวัตถุอันตราย (Safety with Chemicals and Dangerous Goods)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการผูกรัดและบรรทุก (Safe Loading and Lashing)
- หลักสูตร อุบัติเหตุเป็นศูนย์ด้วย KYT (Zero Accident with KYT)
- หลักสูตร การสั่งหยุดงานเพื่อความปลอดภัยในองค์กร หรือ STOP for SAFETY
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าสำหรับลูกจ้างซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
- หลักสูตร ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย (BEHAVIOR BASED SAFETY: BBS)
- หลักสูตร อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment: PPE)
- หลักสูตร โครงการอนุรักษ์การได้ยิน (Hearing Conservation Program)
- ประวัติวิทยากร
หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าสำหรับลูกจ้างซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า (Safety Electricity)
ตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการฝึกอบรม พ.ศ 2558
หลักการและเหตุผล:
ตามกฎกระทรวงแรงงาน พ.ศ. 2558 กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้า หมวด 1 ข้อ 4 ให้นายจ้างจัดให้มีการฝึกอบรมให้ลูกจ้างปฏิบัติงานที่เกี่ยวกับไฟฟ้าให้มีความรู้ความเข้าใจ และทักษะที่จำเป็นในการทำงานอย่างปลอดภัยตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย และข้อ 13 (2) การปฐมพยาบาลและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานโดยการผายปอดด้วยวิธีปากเป่าอากาศ เข้าทางปากหรือจมูกของผู้ประสบอันตราย และการนวดหัวใจจากภายนอก การเล็งเห็นความสำคัญของความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้า สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในชีวิตอย่างมากมาย เช่นนำมาใช้ในการผลิตและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ซึ่งก็ต้องอาศัยพลังงานไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า แต่หากเราใช้ไฟฟ้าอย่างไม่ถูกวิธีและใช้ไฟฟ้าด้วยความประมาทก็นำมาซึ่งอันตรายแก่ผู้ใช้งาน ดังนั้นผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้าจึงจำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้า ทั้งนี้ก็เพื่อเพื่อความปลอดภัยของชีวิตและทรัพย์สิน ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องคำนึงเรื่องการทำงานคือ ความปลอดภัยต้องมาเป็นอันดับแรก
วัตถุประสงค์:
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้าได้อย่างปลอดภัยตามที่กฎหมายกำหนด
- เพื่อให้ผู้เข้าอบรมรู้อันตรายจากไฟฟ้าและหลักการป้องกันอันตรายเกี่ยวกับไฟฟ้า
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และได้ฝึกปฏิบัติการปฐมพยาบาลได้อย่างปลอดภัยทั้งผู้ประสบอันตรายและผู้ช่วยเหลือ
เนื้อหาการอบรม:
ส่วนที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับไฟฟ้า
- กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าและความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบไฟฟ้า
- ประเภทและลักษณะของการประสบอันตรายจากไฟฟ้า
- สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุจากไฟฟ้า
- ปัจจัยที่ก่อให้เกิดอันตรายจากไฟฟ้า
- ผลของกระแสไฟฟ้าที่มีต่อร่างกายมนุษย์
- หลักการป้องกันอันตรายจากไฟฟ้า
- อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
- การตรวจสอบระบบไฟฟ้าเบื้องต้นเพื่อความปลอดภัยในการทำงาน
ส่วนที่ 2 การช่วยชีวิตผู้ประสบอันตรายจากไฟฟ้า
- วิธีปฏิบัติเมื่อพบผู้ประสบอันตรายจากไฟฟ้า
- การช่วยเหลือผู้ประสบอันตรายจากไฟฟ้าในการทำงานบนที่สูง
- วิธีการปฐมพยาบาลและช่วยชีวิตผู้ประสบอันตรายจากไฟฟ้า
- กรณีผู้ประสบอันตรายมีบาดแผล เสียเลือด
- การประเมินแผลไหม้จากการประสบอันตรายจากไฟฟ้าและการปฐมพยาบาลแผลไหม้
- กรณีผู้ประสบอันตรายกระดูกหักและการเข้าเฝือกผู้ประสบอันตรายจากไฟฟ้า
วิธีการอบรม: บรรยาย 40% ปฏิบัติ 60%
- การบรรยาย
- กรณีศึกษาจากวีดีทัศน์
- Workshop
- การฝึกปฏิบัติการช่วยชีวิตผู้ประสบอันตรายจากไฟฟ้า
สถานที่อบรม:
- บริษัทลูกค้า/สถานที่ลูกค้าจัดให้
ผู้เข้าร่วมอบรม:
- ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
ระยะเวลา:
- 1 วัน (เวลา 09.00 – 16.00 น.)
สิ่งที่จะได้จากการอบรม:
- ทราบถึงความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับไฟฟ้าในเบื้องต้น
- รู้ถึงสาเหตุของการเกิดอุบัติจากการทำงานกับไฟฟ้า
- เข้าใจลักษณะของอันตรายที่จะเกิดจากไฟฟ้า
- รู้หลักการตรวจสอบระบบไฟฟ้าเบื้องต้น
- รู้หลักการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อได้รับอันตรายจากไฟฟ้า
- รู้วิธีการช่วยเหลือผู้รับอันตรายจากไฟฟ้าอย่างถูกวิธี
- รู้วิธีการประเมินบาดแผลจากการประสบอันตรายจากไฟฟ้า
- รู้วิธีการป้องกันตัวเองจากอันตรายจากไฟฟ้า
วิทยากร: อาจารย์ที่มีคุณสมบัติตามประกาศกระทรวงกำหนดฯ
E-mail wongyai.safety@gmail.com
โทรศัพท์ 082-387-8999, 095-549-0298
Page https://www.facebook.com/wongyaitraining/
Blog https://safetynantanaporn.wordpress.com/
Web http://www.wongyaitraining.com/
WongyaiTraining ศูนย์ฝึกอบรมด้านความปลอดภัยในการทำงาน by บริษัท ดับเบิ้ลยู ที ซี จำกัด
สำนักงานใหญ่: 222/240 ชั้น 1 หมู่บ้านพรีซีโอ 4 หมู่ 4 ตำบลนาป่า อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000
ศูนย์ฯ ภาคใต้: ตำบลปากน้ำ อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ 81000
ศูนย์ฯ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี 34130
MOBILE: 082 387 8999 , 095 549 0298
LINE ID: wongyaitraining