- หลักสูตร การฝึกอบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น
- หลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับเทคนิค (จป.เทคนิค)
- หลักสูตร เอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี (Safety Data Sheet : SDS)
- หลักสูตร การดับเพลิงขั้นต้น (Basic Fire Fighting Training)
- หลักสูตร การจัดการความสูญเปล่า 7 ประการ (7 Waste Management)
- หลักสูตร ทัศนคติของผู้นำและจิตวิทยาพื้นฐานเพื่อการบริหารทีมอย่างมีประสิทธิภาพ (Leadership Attitude and Basic Psychology for Effective Team Management)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับความร้อนประกายไฟ (Hot Work Safety)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับรังสี สำหรับลูกจ้างที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับรังสี (Radiation Safety)
- หลักสูตร เทคนิคการสื่อสารเพื่อความปลอดภัยอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Safety Communication Techniques)
- หลักสูตร การยศาสตร์เพื่อเพิ่มผลผลิต และอาชีวอนามัยความปลอดภัย (Ergonomics for Productivity Improvement and Safety)
- หลักสูตร กฎหมายความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน
- หลักสูตร การลดต้นทุนการผลิตด้วย QC 7 Tools
- หลักสูตร การสร้างจิตสำนึกคุณภาพ (Quality Awareness)
- หลักสูตร โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม (Occupational Disease)
- หลักสูตร ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการกฎหมายและการดำเนินการเกี่ยวกับน้ำมันเชื้อเพลิง
- หลักสูตร ทบทวนความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
- หลักสูตร วิทยากรอบรม BBS ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการทำงาน (Train the Behavior Based Safety (BBS) Trainer)
- หลักสูตร ไคเซ็นเพื่อการปรับปรุงงานและเพิ่มผลผลิตสู่ความสำเร็จขององค์กร (Kaizen for Success)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง (Work at Heights)
- หลักสูตร ชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)
- หลักสูตร เทคนิคการติดตั้งและตรวจสอบนั่งร้าน (Scaffolding Installation & Inspection Techniques)
- หลักสูตร ระบบล็อคและติดป้ายเพื่อตัดแยกพลังงานอันตราย (Lock out Tag out : LOTO)
- หลักสูตร เทคนิคการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย (JSA: Job Safety Analysis)
- หลักสูตร : ติวสอบ เพื่อสอบเป็นบุคลากรเฉพาะ ตามหลักสูตรความปลอดภัย การเก็บรักษาวัตถุอันตราย ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมกำหนด
- หลักสูตร การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพ (First Aid & CPR)
- หลักสูตร ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน สำหรับลูกจ้างทั่วไปและลูกจ้างเข้าทำงานใหม่ ตาม พรบ.ความปลอดภัยฯ พ.ศ. 2554
- หลักสูตร ความปลอดภัยเกี่ยวกับงานเชื่อมและงานตัด (Safe Welding And Cutting)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการขับขี่รถยก (Forklift Safe Driving Training)
- หลักสูตร เครน ปั้นจั่น (การปฏิบัติหน้าที่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ และผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น)
- หลักสูตร การประเมินและบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 และ ISO 14001: 2015 (ISO 9001:2015 and ISO 14001:2015 RISK ASSESSMENT AND MANAGEMENT TRAINING)
- หลักสูตร กิจกรรม 5ส. เพื่อความปลอดภัยและเพิ่มผลผลิตอย่างยั่งยืน (5S for Safety & Productivity to Sustainable Course)
- หลักสูตร กิจกรรม 5ส. เพื่อการเพิ่มผลผลิต (5S for Productivity Improvement)
- หลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร (จป.บริหาร)
- หลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน (จป.หัวหน้างาน)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ (Confined Space)
- หลักสูตร คปอ. (คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบกิจการ)
- หลักสูตร การขับรถป้องกันอุบัติเหตุสำหรับหัวหน้างานและผู้จัดการ (Defensive Driving for Manager and Supervisor)
- หลักสูตร การขับรถเชิงป้องกันอุบัติเหตุสำหรับพนักงานขับรถบรรทุก (Defensive Driving for Truck Driver)
- หลักสูตร การประเมินการขับรถและแก้ไขข้อบกพร่อง (In Cab Assessment and Coaching)
- หลักสูตร การขออนุญาติมีไว้ในครอบครองเกี่ยวกับสารเคมีและวัตถุอันตราย ตามพรบ. วัตถุอันตราย 2535
- หลักสูตร การตอบโต้เหตุสารเคมีรั่วไหล (Chemicals and Dangerous GoodS Spill Respond)
- หลักสูตร เทคนิคการบริหารจัดการสารเคมีอันตราย (Chemical Hazard Management Techniques)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการใช้สารเคมีและวัตถุอันตราย (Safety with Chemicals and Dangerous Goods)
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการผูกรัดและบรรทุก (Safe Loading and Lashing)
- หลักสูตร อุบัติเหตุเป็นศูนย์ด้วย KYT (Zero Accident with KYT)
- หลักสูตร การสั่งหยุดงานเพื่อความปลอดภัยในองค์กร หรือ STOP for SAFETY
- หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าสำหรับลูกจ้างซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
- หลักสูตร ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย (BEHAVIOR BASED SAFETY: BBS)
- หลักสูตร อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment: PPE)
- หลักสูตร โครงการอนุรักษ์การได้ยิน (Hearing Conservation Program)
- ประวัติวิทยากร
บฉ. ย่อมาจาก ..... “บุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตราย” นั้นเองจ้า
มีความหมายว่า....ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบด้านความปลอดภัยในเรื่องการเก็บรักษาวัตถุอันตรายที่สอบผ่านการทดสอบวัดความรู้หลักสูตรความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตราย ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมกำหนด
แล้ว บฉ. เป็นมาอย่างไร?
บฉ. นั้นจำเป็นต้องมีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ....
กรณีที่ 1. "จบปริญญาตรี เรียนเคมีไม่น้อยกว่า 8 หน่วยกิต”
หรือ
กรณีที่ 2. "จบมัธยมศึกษาตอนปลายขึ้นไปและมีประสบการณ์เกี่ยวกับการเก็บรักษาวัตถุอันตรายไม่น้อยกว่า 3 ปี"
REF: ประกาศ กรอ. เรื่อง การทดสอบวัดความรู้เพื่อจดทะเบียนเป็นบุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตราย พ.ศ. 2553
แล้วทำไงต่อถึงจะได้เป็น บฉ.?
เมื่อตรวจสอบคุณสมบัติตนเองเรียบร้อยว่า “มีคุณสมบัติ”
เราต้องผ่านเกณฑ์การสอบวัดความรู้ ตามที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมกำหนดสอบขึ้น ซึ่งจะผ่านได้คะแนนสอบต้อง 80 เปอร์เซ็นต์ขึ้นไปน๊า
โดยที่เราสามารถสมัครสอบได้ที่ เข้าไปที่ >>> http://hazexam.diw.go.th/index.asp
เตรียมตัวอย่างไรให้สอบผ่านค่ะ?
เราควรรู้....
1. หน้างานของเราเป็นอย่างดี
2.กฎหมายที่เกี่ยวข้องและข้อปฏิบัติที่จำเป็น
3. การจัดเก็บสารเคมีตามข้อกฎหมาย
4. บทบาทและหน้าที่ของผู้ที่เกี่ยวข้อง
5.การจัดทำรายงานเอกสารที่เกี่ยวข้องกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม
หรือถ้าให้ง่าย สะดวก รวดเร็ว เข้มข้น สอบผ่านแน่ๆ ในครั้งเดียว..
ก็มาติวไปด้วยกันกับเพจ @wongyaitraining ติวสดโดยอาจารย์ปุ๋ย
แถมยังมีข้อสอบให้ฝึกทำจนกว่าจะมั่นใจ และสามารถเรียนผ่าน VDO กี่รอบก็ได้
เข้าไปที่ >>> https://www.facebook.com/wongyaitraining/
สอบผ่านแล้วทำไงต่อค่ะ?
เมื่อเราสอบผ่านแล้วก็จะต้องไปขอขึ้นทะเบียนเป็น บฉ. ที่โรงงานอุตสาหกรรม
แล้วเอาใบรับรองการเป็น บฉ. ไปใช้งานอย่างไร?
เมื่อได้ บฉ. 3 แล้ว เราสามารถเอา บฉ. 3 ไปขึ้นทะเบียนเป็น บฉ. ให้สถานประกอบการได้เพียงที่เดียวเท่านั้น กรณีลาออกต้องแจ้งออกด้วยน๊า จะได้เอาไปใช้ที่อื่นได้อีก
แต่สถานประกอบการเดียวจะมี บฉ. หลายคนก็ได้นะจ๊ะ
บฉ. มีหน้าที่และความรับผิดชอบอะไรบ้าง?
หน้าที่และความรับผิดชอบของ “บฉ.” ต้อง……
>>> ปฏิบัติงานให้ สถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย ให้ปลอดภัย ตามประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เร่ือง คู่มือการเก็บรักษาสารเคมีและวัตถุอันตราย พ.ศ. 2550
>>> ทําแผนความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตรายประจําปีเก็บไว้
>>> จัดทำและรับรองรายงานความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตราย
>>> ให้ข้อมูลที่ถูกต้องต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม กรณีที่เกิดอุบัติภัยจาก สถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย
>>> หากบุคลากรเฉพาะไม่ประสงค์ทําหน้าที่หรือไม่ได้รับมอบหมายจากผู้ประกอบการฯให้รับผิดชอบการเก็บรักษาวัตถุอันตรายต่อไป แจ้งให้ DIW ทราบล่วงหน้าเป็นลายลักษณ์อักษรไม่น้อยกว่า 15 วัน
ลองไปทำและศึกษาเพิ่มเติมดูนะจ๊ะ หากมีข้อสงสัยและต้องการคำปรึกษาติดต่อมาที่
>>> wongyai.safety@gmail.com ได้เลยน๊า
วันนี้แอดมินขอออนุญาต ลาไปก่อนน๊า
แล้วถ้ามีคำถามดีดี หรือ หัวข้อดีดี จะมาเล่าให้ฟังอีกน๊า
บ๊ายๆๆๆๆจ้า
WongyaiTraining ศูนย์ฝึกอบรมด้านความปลอดภัยในการทำงาน by บริษัท ดับเบิ้ลยู ที ซี จำกัด
สำนักงานใหญ่: 222/240 ชั้น 1 หมู่บ้านพรีซีโอ 4 หมู่ 4 ตำบลนาป่า อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000
ศูนย์ฯ ภาคใต้: ตำบลปากน้ำ อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ 81000
ศูนย์ฯ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี 34130
MOBILE: 082 387 8999 , 095 549 0298
LINE ID: wongyaitraining